|
|
ความทรมานของพระเยซู บอกเล่าความทรมาน ของ พระเยซู การตรึงที่กางเขนเป็นการทรมาน..ให้ตายอย่างช้าๆ เมื่อครั้งที่ข้าพเจ้ายังเด็ก ครูรวีวารศึกษาได้สอนข้าพเจ้าเป็นครั้งแรกถึงเรื่องพระกำเนิด, การดำเนินชีวิต, การสิ้นพระชนม์, และ การฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซู ครั้นข้าพเจ้าย่างเข้าสู่วัยหนุ่มก็ได้ พยายามจัดลำดับความรู้ เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ เป็นครั้งแรกที่ข้าพเจ้าคิดสงสัยเรื่องการสิ้นพระชนม์ของพระเยซู แต่นี่ก็ไม่ได้หมายความว่าข้าพเจ้าปฏิเสธพระคัมภีร์ เพียงแต่รู้สึกไม่แน่ใจในหลายๆ อย่าง บางครั้งความรู้สึกนี้ทำให้ข้าพเจ้า (สงสัยตนเองมีความสัมพันธ์กับพระคริสต์หรือไม่) เมื่อ ข้าพเจ้าศึกษาอยู่ในวิทยาลัย อาจารย์กำหนดให้ข้าพเจ้าเขียนรายงานประจำภาคเรื่องหนึ่ง ข้าพเจ้าจึงได้เลือกค้นคว้าเรื่องการสิ้นพระชนม์ของพระเยซูอย่างละเอียดที่สุดเท่าที่จะทำ ได้ เมื่อได้ศึกษาเรื่องนั้นแล้ว ข้าพเจ้าเกิดความรู้สึก 2 อย่าง คือ รู้สึกหวาดกลัวในเหตุการณ์อันสยดสยองครั้งนั้น และมีความเชื่อในพระเยซูคริสตฺ์ จากหลักฐานต่างๆ ของนักประวัติศาสตร์เป็นที่พิสูจน์แล้วว่า พระองค์เป็นพระบุตรของพระเจ้าผู้ทรงฟื้นขึ้นจากความตาย ในสมัยของพระคริสต์นั้น รัฐบาลโรมจะประหารชีวิตนักโทษโดยการจับตรึงที่กางเขน การลงโทษโดยใช้วิธีนี้มิใช่เพื่อล้างผลาญชีวิตของผู้กระทำผิดเท่านั้น แต่เพื่อให้ประชาชนได้เห็นโทษที่ผู้กระทำผิดได้รับอีกด้วย อย่างน้อย 10 ฉบับที่พยายามทำความเข้าใจสาเหตุทางกายภาพของการเสียชีวิตของพระเยซู ในจำนวนนี้รวมถึงความพยายามของคนอเมริกันกลุ่มหนึ่งในปี 2005 ที่มีการตรึงอาสาสมัครกับกางเขนชั่วคราวและอย่างปลอดภัยด้วยเข็มขัด การทดลองนี้ทำให้ได้มาซึ่งสมมติฐานมากมาย ตั้งแต่หัวใจล้มเหลวไปจนถึงเลือดคั่งในปอด และอาการสลบและช็อคเนื่องจากความดันโลหิตลดต่ำ เหยื่อจะเจ็บปวดทรมานอยู่นาน 6 ชั่วโมงนับจากถูกตรึงกางเขนจนเสียชีวิตจากการเสียเลือด ขาดน้ำ และน้ำหนักของร่างกายที่กดทับปอด การตรึงที่กางเขน เป็นการทรมานนักโทษให้ตายอย่างช้าๆ ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนขยาดกลัว มิกล้ากระทำผิด วิธีตรึงที่กางเขนนั้น แผกแตกต่างกันไปบ้าง เล็กน้อยในแต่ละแห่ง แต่ผลลัพธ์นั้นก็เหมือนกัน คือ ความเจ็บปวดรวดร้าวจนตาย อย่างช้าๆ ท่านเคยคิดสงสัยเหมือนข้าพเจ้าหรือไม่ว่า ตะปูที่แทงทะลุมือและเท้าจะทำให้คนตายได้อย่างไรกัน ขอเชิญพิจารณาร่วมกับข้าพเจ้าถึงเรื่องนี้
|
|
|
|
|
|
|
การโบยตี – บาง ครั้ง สิ่งแรกสุด ในกระบวนการตรึงที่กางเขนก็คือ การเฆี่ยนตีผู้กระทำผิดจนเกือบจะตาย จากประวัติศาสตร์ที่มิได้ระบุระยะเวลาอย่างชัดแจ้ง, นักโทษที่ถูกโบย 40 ที ถึงแก่ความตาย ดังนั้นเองพวกทหารโรมันจึงโบยนักโทษแต่เพียง 39 ที เท่านั้น โดยใช้แส้ที่มีสายหนังหลายเส้น แต่ละเส้นมีหินหรือกระดูกแหลมคมติดอยู่ที่ปลายแส้ นักโทษที่ถูกโบยจะมีแผ่นหลังและสีข้างเป็นรอยแตกยับ กระดูกสันหลังได้รับความกระทบกระเทือนจนประสาทถูกทำลาย การแบกไม้กางเขน นักโทษบางคนต้องแบกไม้กางเขนไปยังแดนประหารเป็นระยะทางไกล เพื่อประจานตัวเอง มิให้ประชาชนเอาเป็นเยี่ยงอย่าง โดยทั่วไปแล้ว นักโทษผู้เคราะห์ร้ายจะถูกบังคับให้แบกกางเขน นักประวัติศาสตร์ รายงานเราว่า ชาวโรมันใช้วิธีตรึงที่กางเขน 2 แบบ ในสถานที่ต่างกันและอันที่จริงแล้ว เราก็ไม่แน่ใจว่าพวกเขาใช้วิธีใดกับองค์พระผู้เป็นเจ้าของเรา วิธีแรก พวกทหารโรมันจะปักไม้ท่อนตรงลงในแดนประหารอย่างแน่นหนา นักโทษจะถูกบังคับให้แบกไม้อีกท่อนหนึ่ง (ซึ่งมีขนาดและน้ำหนักพอๆ กับไม้หมอนรถไฟ) ไป จนถึงที่ประหารซึ่งทหารโรมันจะตรึงแขนทั้งสองข้างของเขากับท่อนไม้ที่แบกมา จากนั้นก็จะยกขึ้นพาดกับไม้หลักตรงรอยบาก แล้วผูกให้ติดกันแน่น พวกทหารจะตอกตะปูทะลุเท้าของนักโทษให้ติดแน่นกับไม้หลัก โดยให้เข่าทั้งคู่งอ และฝ่าเท้านาบไปกับไม้หลักนั้น วิธีที่สอง ทหารโรมันจะเอาไม้มาประกอบกันเป็นไม้กางเขน แล้วบังคับให้นักโทษแบกลากไปยังแดนประหาร ณ ที่นั้นพวกเขาจะตรึงแขนและเท้าของนักโทษกับไม้กางเขน ดังได้พรรณนามาแล้วข้างต้น การตรึงทั้งสองวิธีจะใช้เชือกหรือสายหนัง รัดรึงแขนทั้งสองข้างของผู้เคราะห์ร้ายเข้ากับบางเขน บางครั้งอาจใช้แทนการตอกตะปู หรืออาจใช้ประกอบเพิ่มจากการตอกตะปูแล้วก็ได้
|
|
|
|
|
|
|
จากนั้น พวกเขาก็จะช่วยกันยกกางเขนมาหย่อนลงในหลุมที่ขุดในหินแล้วตอกลิ่มที่โคน กางเขนเพื่อมิให้โคลงเคลง ตอนนี้เองที่ความทุกข์ทรมานจนตายอย่างช้าๆ ได้เริ่มขึ้น เมื่อแขนทั้งสองข้างของนักโทษเหยียดออก น้ำหนักของร่างกายก็ถ่วงลงจากข้อมือ ดึงกล้ามเนื้อที่ทรวงอก (ซึ่ง มีหน้าที่ควบคุมการหายใจ) ทำ ให้เกิดอาการชา การหายใจติดขัด ตามเนื้อตามตัวของนักโทษจะปรากฎ รอยจ้ำ ดำๆ หลายๆ แห่งให้เห็น ทั้งนี้เพราะร่างกายขาดออกซิเจน ดังนั้นเพื่อจะได้หายใจสักหนึ่งหรือสองเฮือก นักโทษผู้ อ่อนระโหยโรยแรงก็จะกระ...กระสนเหยียดตัวขึ้น โดยการเขย่งเท้า (ทำให้น้ำหนักของร่างกายทั้งหมดมาตกที่ตะปูตัวที่แทงทะลุเท้าทั้งสองข้าง) แต่ในไม่ช้าผู้เคราะห์ร้ายก็จะทิ้งตังลงอยู่ในสภาพเดิม (คือ เข่างอทั้งคู่) เพราะ เจ็บปวดแสนสาหัส เขาจะเหยียดตัวขึ้นแล้วก็ทิ้งตัวลงอย่างนี้เรื่อยๆ ไป ครั้นเวลาร่วงเลยไป ร่างที่บอบช้ำหมดเรียวแรงก็จะหยุดนิ่ง เขย่งขาไม่ได้อีก นักโทษจะสั่นเทาไปทั้งตัว ทั้งนี้เพราะกล้ามเนื้อที่ทรวงอกเป็นอัมพาต ทำให้หายใจไม่ออก มีนักโทษประหารบางรายทนการทรมานอย่างนี้ ได้นานจนพวกทหารโรมันต้องใช้หอกเสียบ และทุบขาให้หักทั้งสองข้าง เพื่อทำให้เขาไม่สามารถเหยียดตัวขึ้นหายใจได้ ไม่ช้าก็จะเกิดการชักกะตุกอย่างรุนแรงที่บริเวณหน้าอกของนักโทษ ทำให้เขาสิ้นชีวิตลงทันที ลองพิจารณาดูเถิดว่า ลมหายใจ (ของนักโทษ) แต่ ละเฮือกนั้นมีค่ามากเพียงใด เพราะฉะนั้นพระดำรัสของ พระเยซูบนไม้กางเขน เกี่ยวกับการอภัยบาปจึงมีความหมายลึกซึ้งจริงๆ และเนื่องจากพระเยซูผู้ทรงฤทธิ์อำนาจไม่จำกัดยินยอมให้พวกเขาแขวนพระองค์เอง ที่กางเขน เพื่อเป็นค่าไถ่พวกเรา ท่านเปาโลจึงเรียกร้องให้เรามีความเชื่อว่า “…. พระองค์ก็ทรงถ่อมพระองค์ลง ยอมเชื่อฟังจนถึงความมรณากระทั่งความมรณาที่กางเขน” ( ฟิลิปปี 2:6)บทความนี้แปลและเรียบเรียงจากเรื่อง Crucifixion – The slow death โดย Bill Morris ในนิตยสาร “The Church Musican” ประจำเดือน มีนาคม 1982, หน้า 12-13
|
|
|
|
|
|
|
|
ความทรมาน ของ พระเยซู บอกเล่าความทรมาน ของ พระเยซู การตรึงที่กางเขนเป็นการทรมาน..ให้ตายอย่างช้าๆ เมื่อครั้งที่ข้าพเจ้ายังเด็ก ครูรวีวารศึกษาได้สอนข้าพเจ้าเป็นครั้งแรกถึงเรื่องพระกำเนิด, การดำเนินชีวิต, การสิ้นพระชนม์, และ การฟื้นคืนพระชนม์ของพระเยซู ครั้นข้าพเจ้าย่างเข้าสู่วัยหนุ่มก็ได้ พยายามจัดลำดับความรู้ เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ เป็นครั้งแรกที่ข้าพเจ้าคิดสงสัยเรื่องการสิ้นพระชนม์ของพระเยซู แต่นี่ก็ไม่ได้หมายความว่าข้าพเจ้าปฏิเสธพระคัมภีร์ เพียงแต่รู้สึกไม่แน่ใจในหลายๆ อย่าง บางครั้งความรู้สึกนี้ทำให้ข้าพเจ้า (สงสัยตนเองมีความสัมพันธ์กับพระคริสต์หรือไม่) เมื่อ ข้าพเจ้าศึกษาอยู่ในวิทยาลัย อาจารย์กำหนดให้ข้าพเจ้าเขียนรายงานประจำภาคเรื่องหนึ่ง ข้าพเจ้าจึงได้ เลือกค้นคว้าเรื่องการสิ้นพระชนม์ของพระเยซูอย่างละเอียดที่สุดเท่าที่จะทำ ได้ เมื่อได้ศึกษาเรื่องนั้นแล้ว ข้าพเจ้าเกิดความรู้สึก 2 อย่าง คือ รู้สึกหวาดกลัวในเหตุการณ์อันสยดสยองครั้งนั้น และมีความเชื่อในพระเยซูคริสตฺ์ จากหลักฐานต่างๆ ของนักประวัติศาสตร์เป็นที่พิสูจน์แล้วว่า พระองค์เป็นพระบุตรของพระเจ้าผู้ทรงฟื้นขึ้นจากความตาย ในสมัยของพระคริสต์นั้น รัฐบาลโรมจะประหารชีวิตนักโทษโดยการจับตรึงที่กางเขน การลงโทษโดยใช้วิธีนี้มิใช่เพื่อล้างผลาญชีวิตของผู้กระทำผิดเท่านั้น แต่เพื่อให้ประชาชนได้เห็นโทษที่ผู้กระทำผิดได้รับอีกด้วย อย่างน้อย 10 ฉบับที่พยายามทำความเข้าใจสาเหตุทางกายภาพของการเสียชีวิตของพระเยซู ในจำนวนนี้รวมถึงความพยายามของคนอเมริกันกลุ่มหนึ่งในปี 2005 ที่มีการตรึงอาสาสมัครกับกางเขนชั่วคราวและอย่างปลอดภัยด้วยเข็มขัด การทดลองนี้ทำให้ได้มาซึ่งสมมติฐานมากมาย ตั้งแต่หัวใจล้มเหลวไปจนถึงเลือดคั่งในปอด และอาการสลบและช็อคเนื่องจากความดันโลหิตลดต่ำ เหยื่อจะเจ็บปวดทรมานอยู่นาน 6 ชั่วโมงนับจากถูกตรึงกางเขนจนเสียชีวิตจากการเสียเลือด ขาดน้ำ และน้ำหนักของร่างกายที่กดทับปอด การตรึงที่กางเขน เป็นการทรมานนักโทษให้ตายอย่างช้าๆ ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนขยาดกลัว มิกล้ากระทำผิด วิธีตรึงที่กางเขนนั้น แผกแตกต่างกันไปบ้าง เล็กน้อยในแต่ละแห่ง แต่ผลลัพธ์นั้นก็เหมือนกัน คือ ความเจ็บปวดรวดร้าวจนตาย อย่างช้าๆ ท่านเคยคิดสงสัยเหมือนข้าพเจ้าหรือไม่ว่า ตะปูที่แทงทะลุมือและเท้าจะทำให้คนตายได้อย่างไรกัน ขอเชิญพิจารณาร่วมกับข้าพเจ้าถึงเรื่องนี้
|
|
|
|
|
|
|
การโบยตี – บางครั้ง สิ่งแรกสุด ในกระบวนการตรึงที่กางเขนก็คือ การเฆี่ยนตีผู้กระทำผิดจนเกือบจะตาย จากประวัติศาสตร์ที่มิได้ระบุระยะเวลาอย่างชัดแจ้ง, นักโทษที่ถูกโบย 40 ที ถึงแก่ความตาย ดังนั้นเองพวกทหารโรมันจึงโบยนักโทษแต่เพียง 39 ที เท่านั้น โดยใช้แส้ที่มีสายหนังหลายเส้น แต่ละเส้นมีหินหรือกระดูกแหลมคมติดอยู่ที่ปลายแส้ นักโทษที่ถูกโบยจะมีแผ่นหลังและสีข้างเป็นรอยแตกยับ กระดูกสันหลังได้รับความกระทบกระเทือนจนประสาทถูกทำลาย การแบกไม้กางเขน นักโทษบางคนต้องแบกไม้กางเขนไปยังแดนประหารเป็นระยะทางไกล เพื่อประจานตัวเอง มิให้ประชาชนเอาเป็นเยี่ยงอย่าง โดยทั่วไปแล้ว นักโทษผู้เคราะห์ร้ายจะถูกบังคับให้แบกกางเขน นักประวัติศาสตร์ รายงานเราว่า ชาวโรมันใช้วิธีตรึงที่กางเขน 2 แบบ ในสถานที่ต่างกันและอันที่จริงแล้ว เราก็ไม่แน่ใจว่าพวกเขาใช้วิธีใดกับองค์พระผู้เป็นเจ้าของเรา วิธีแรก พวกทหารโรมันจะปักไม้ท่อนตรงลงในแดนประหารอย่างแน่นหนา นักโทษจะถูกบังคับให้แบกไม้อีกท่อนหนึ่ง (ซึ่งมีขนาดและน้ำหนักพอๆ กับไม้หมอนรถไฟ) ไป จนถึงที่ประหารซึ่งทหารโรมันจะตรึงแขนทั้งสองข้างของเขากับท่อนไม้ที่แบกมา จากนั้นก็จะยกขึ้นพาดกับไม้หลักตรงรอยบาก แล้วผูกให้ติดกันแน่น พวกทหารจะตอกตะปูทะลุเท้าของนักโทษให้ติดแน่นกับไม้หลัก โดยให้เข่าทั้งคู่งอ และฝ่าเท้านาบไปกับไม้หลักนั้น วิธีที่สอง ทหารโรมันจะเอาไม้มาประกอบกันเป็นไม้กางเขน แล้วบังคับให้นักโทษแบกลากไปยังแดนประหาร ณ ที่นั้นพวกเขาจะตรึงแขนและเท้าของนักโทษกับไม้กางเขน ดังได้พรรณนามาแล้วข้างต้น การตรึงทั้งสองวิธีจะใช้เชือกหรือสายหนัง รัดรึงแขนทั้งสองข้างของผู้เคราะห์ร้ายเข้ากับบางเขน บางครั้งอาจใช้แทนการตอกตะปู หรืออาจใช้ประกอบเพิ่มจากการตอกตะปูแล้วก็ได้
|
|
|
|
|
|
|
จากนั้น พวกเขาก็จะช่วยกันยกกางเขนมาหย่อนลงในหลุมที่ขุดในหินแล้วตอกลิ่มที่โคน กางเขนเพื่อมิให้โคลงเคลง ตอนนี้เองที่ความทุกข์ทรมานจนตายอย่างช้าๆ ได้เริ่มขึ้น เมื่อแขนทั้งสองข้างของนักโทษเหยียดออก น้ำหนักของร่างกายก็ถ่วงลงจากข้อมือ ดึงกล้ามเนื้อที่ทรวงอก (ซึ่ง มีหน้าที่ควบคุมการหายใจ) ทำ ให้เกิดอาการชา การหายใจติดขัด ตามเนื้อตามตัวของนักโทษจะปรากฎ รอยจ้ำ ดำๆ หลายๆ แห่งให้เห็น ทั้งนี้เพราะร่างกายขาดออกซิเจน ดังนั้นเพื่อจะได้หายใจสักหนึ่งหรือสองเฮือก นักโทษผู้ อ่อนระโหยโรยแรงก็จะกระ...กระสนเหยียดตัวขึ้น โดยการเขย่งเท้า (ทำให้น้ำหนักของร่างกายทั้งหมดมาตกที่ตะปูตัวที่แทงทะลุเท้าทั้งสองข้าง) แต่ในไม่ช้าผู้เคราะห์ร้ายก็จะทิ้งตังลงอยู่ในสภาพเดิม (คือ เข่างอทั้งคู่) เพราะ เจ็บปวดแสนสาหัส เขาจะเหยียดตัวขึ้นแล้วก็ทิ้งตัวลงอย่างนี้เรื่อยๆ ไป ครั้นเวลาร่วงเลยไป ร่างที่บอบช้ำหมดเรียวแรงก็จะหยุดนิ่ง เขย่งขาไม่ได้อีก นักโทษจะสั่นเทาไปทั้งตัว ทั้งนี้เพราะกล้ามเนื้อที่ทรวงอกเป็นอัมพาต ทำให้หายใจไม่ออก มีนักโทษประหารบางรายทนการทรมานอย่างนี้ ได้นานจนพวกทหารโรมันต้องใช้หอกเสียบ และทุบขาให้หักทั้งสองข้าง เพื่อทำให้เขาไม่สามารถเหยียดตัวขึ้นหายใจได้ ไม่ช้าก็จะเกิดการชักกะตุกอย่างรุนแรงที่บริเวณหน้าอกของนักโทษ ทำให้เขาสิ้นชีวิตลงทันที ลองพิจารณาดูเถิดว่า ลมหายใจ (ของนักโทษ) แต่ ละเฮือกนั้นมีค่ามากเพียงใด เพราะฉะนั้นพระดำรัสของ พระเยซูบนไม้กางเขน เกี่ยวกับการอภัยบาปจึงมีความหมายลึกซึ้งจริงๆ และเนื่องจากพระเยซูผู้ทรงฤทธิ์อำนาจไม่จำกัดยินยอมให้พวกเขาแขวนพระองค์เอง ที่กางเขน เพื่อเป็นค่าไถ่พวกเรา ท่านเปาโลจึงเรียกร้องให้เรามีความเชื่อว่า “…. พระองค์ก็ทรงถ่อมพระองค์ลง ยอมเชื่อฟังจนถึงความมรณากระทั่งความมรณาที่กางเขน” ( ฟิลิปปี 2:6)บทความนี้แปลและเรียบเรียงจากเรื่อง Crucifixion – The slow death โดย Bill Morris ในนิตยสาร “The Church Musican” ประจำเดือน มีนาคม 1982, หน้า 12-13
|
|
|
|
|
|
|
|
Thank you God, the Father, for Jesus Christ, the Redeemer.
|
|
|
|
|
|
|
I could be a hero by the power of Holy God. See you soon "evil-minded" child of God. ps. Dont' forget that the Holy Angel named "Death" is with me and He will destroy all of you with disasters. Beware of gray horse not grayhound. Watch out!
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Bayern Munchen Calendar - January 2013.
|
|
|
|
|
|
|
Little Baby in the manger. Hosanna to the King.
|
|
|
|
|
|
|
Jesus Christ my Lord is my everything. He's in everything
|
|
|
|
|
|
|
Jesus Christ is my beautiful Lord. He's awesome and mightly.
|
|
|
|
|
|
|
|
|
The sky still blue because life is beautiful.
|
|
|
|
|
|
|
Jesus Christ is my everything.
|
|
|
|
|
|
|
Jesus Christ is the love, the way, the life, the truth. He's the door I'm walking through.
|
|
|
|
|
|
|
O worship Jesus Christ, the King.
|
|
|
|
|
|
|
วันที่ 18 ม.ค. "ราชันสีน้ำเงิน" เปิดบ้านต้อนรับ "ฮันโนเวอร์"! VS  เปิดครึ่งฤดูหลังให้แจ่มเลยนะจ๊ะ ราชันสีน้ำเงิน!
|
|
|
|
|
|
|
วันที่ 19 ม.ค. "ทีมข้าพเจ้า" เปิดบ้านต้อนรับ "เสือเหลือง"! VS  จะแพ้รับเปิดครึ่งฤดูหลังไหมเนี่ย...สู้ตายเน้อนางนวล!
|
|
|
|
|
|
|
วันที่ 20 ม.ค. "เนิร์นแบร์ก" เปิดบ้านต้อนรับ "สิงห์เหนือ"! VS  เชียร์สิงห์เหนือจ้ะ!
|
|
|
|
|
|
|
บทสรุปของเป๊ปคือบุนเดสลีกา ถ้าเสือใต้ไม่มีอะไรน่าสนใจจริง ๆ ก็คงไม่มา
|
|
|
|
|
|
|
ผลบอลบุนเดสนัดเปิดฤดูกาลเมื่อสักครู่ "ราชันสีน้ำเงิน" เปิดบ้านชนะ "ฮันโนเวอร์" 5:4! 5:4  ฟาร์ฟันทำประตูแรกให้ราชันสีน้ำเงิน แดร็กซ์เลอร์ทำประตูที่สอง โฮเกอร์ทำประตูที่สาม มาริก้าทำประตูที่สี่ โฮลบี้ทำประตูที่ห้า ยิงกันกระจุยกระจาย เปิดฤดูกาลได้เยี่ยมทีเดียวราชันสีน้ำเงิน สู้ต่อไป!
|
|
|
|
|
|
|
ผลบอลบุนเดสเมื่อสักครู่ "ทีมข้าพเจ้า" พ่าย "เสือเหลือง" เละเทะคาบ้าน 0:5! 0:5  เริ่มต้นครึ่้งฤดูกาลหลังแบบช้ำชอกทีเดียวเชียว ยังไงก็สู้ต่อไปนางนวล ยังเชียร์อยู่!
|
|
|
|
|
|
|
I praise Jesus Christ the Lord for all of my life.
|
|
|
|
|
|
|
ผลบุนเดสเมื่อสักครู่ "เนิร์นแบร์ก" เสมอ "สิงห์เหนือ" 1:1! 1:1  รุดเนฟส์ทำประตูให้สิงห์เหนือ ไม่น่าปล่อยให้เนิร์นแบร์กตีเสมอได้เลย สู้ต่อไปนะจ๊ะสิงห์เหนือ!
|
|
|
|
|
|
|
วันที่ 25 ม.ค. "เสือเหลือง" เปิดบ้านต้อนรับ "เนิร์นแบร์ก"! VS  ได้เวลาเชียร์เสือเหลืองซะที!
|
|
|
|
|
|
|
วันที่ 26 ม.ค. "ราชันสีน้ำเงิน" ไปเืยือน "เอาก์สบวร์ก"! VS  ยิงให้ระเบิดระเบ้อแบบนัดที่แล้วเน้อ ราชันสีน้ำเงิน!
|
|
|
|
|
|
|
วันที่ 27 ม.ค. "ทีมข้าพเจ้า" ไปเืยือน "สิงห์หนุ่ม"! VS  ขนะอย่างเดียวเท่านั้นนะนางนวล อย่าแพ้เละเทะแบบนัดที่แล้ว!
|
|
|
|
|
|
|
|
ผลบอลบุนเดสเมื่อสักครู่ "เสือเหลือง" เปิดบ้านถล่ม "เนิร์นแบร์ก" 3:0! 3 : 0  บลาซีคอฟสกี้ทำประตูที่หนึ่ (จุดโทษ) และสอง เลวานดอฟสกี้ทำประตูที่สาม เสือเหลืองดุจริง สู้ต่อไป!
|
|
|
|
|
|
|
ผลบุนเดสเมื่อสักครู่ "ราชันสีน้ำเงิน" เสมอ "เอาก์สบวร์ก" 0:0! 0 : 0  ไม่ค่อยแหล่มเท่าไหร่ ยังไงก็สู้ต่อไปนะ ราชันสีน้ำเงิน!
|
|
|
|
|
|
|
I'm holding onto Jesus Christ.
|
|
|
|
|
|
|
To the glory of God, next time I fly it will be. To the glory of God, I want my life just to be.
|
|
|
|
|
|
|
|
ผลบอลบุนเดสเมื่อสักครู่ "ทีมข้าพเจ้า" พ่าย "สิงห์หนุ่ม" 2 :3! 3 : 2  อัสซานี่ทำประตูแรกให้นางนวล พาพาสทาโทเพาลอสทำประตูที่สอง นางนวลสถานการณ์ย่ำแย่ทีเดียวเชียวแหล่ะ จะตกชั้นไหมนี่!
|
|
|
|
|
|
|
วันที่ 1 ก.พ. "ทีมข้าพเจ้า" เปิดบ้านต้อนรับ "ฮันโนเวอร์"! VS  สู้ตายนะนางนวล เล่นในบ้านด้วย พ่ายอีกไม่ได้แล้ว!
|
|
|
|
|
|
|
วันที่ 2 ก.พ. "เสือใต้" ไปเยือน "ไมนซ์"! VS  เต็มที่นะเสือใต้ ทำแต้มนำโด่งจนจบเลย!
|
|
|
|
|
|
|
วันที่ 3 ก.พ. "สิงห์หนุ่ม" ไปเยือน "เนิร์นแบร์ก"! VS  เชียร์สิงห์หนุ่มจ้ะ สู้ สู้ เน้อ!
|
|
|
|
|
|
|
This is an amazing lovely song named "If I was Jesus".
|
|
|
|
|
|
|
Jesus, I am Yours forever.
|
|
|
|
|
|
|
ผลบุนเดสเมื่อสักครู่ "ทีมข้าพเจ้า" ชนะ "ฮันโนเวอร์" 2:0! 2 : 0  ปีเตอร์เซ่นทำทั้งสองประตูให้นางนวล ค่อยหายใจได้ทั่วท้องหน่อย สู้ต่อไปนางนวล แวร์เดอร์ เบรเมน!
|
|
|
|
|
|
|